Page 71 - แผนปฏิบัติราชการสำนักงานเลขานุการกรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕
P. 71

คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับกรมและระดับหน่วยงาน

                                            ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

                                 ตัวชี้วัดร่วม                    ตัวชี้วัดต่อเนื่อง   ตัวชี้วัดใหม่   ตัวชี้วัดเดิม



                ตัวชี้วัดที่ 2.4 : ร้อยละของบุคลากรในหน่วยงานได้รับการอบรมพัฒนาให้มีสมรรถนะสูง   น้ำหนัก
                สอดรับกับภารกิจและทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป                              ร้อยละ 10
                หน่วยวัด : ร้อยละ


                 ประเภท :  Agenda based   Functional based   Area based   Joint KPI
                 มิติ :  ประสิทธิผลขององค์การ   คุณภาพการให้บริการ   ประสิทธิภาพ   การพัฒนาองค์การ

                 ความสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ :

                    เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ  ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
                    เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดยุทธศาสตร์  อัตราการคงอยู่ของบุคลากรกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
                 (Retention Rate)

                    เชื่อมโยงกับแผนงาน/โครงการ  โครงการยกระดับระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพต่อการบรรลุเป้าหมาย
                ตามยุทธศาสตร์ชาติ

                คำอธิบาย :

                        บุคลากรในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ ของหน่วยงานในสังกัดกรมการแพทย์แผนไทย
                และการแพทย์ทางเลือก ยกเว้นผู้อำนวยการของหน่วยงาน
                        การพัฒนาศักยภาพบุคลากร หมายถึง กระบวนการเรียนรู้ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ทักษะ สมรรถนะ และ
                ทัศนคติ โดยมีการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องผ่านการฝึกอบรม (ทั้ง Onsite และ Online) การสอน

                งาน (Coaching) การเรียนรู้ด้วยตนเอง การพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย (Routine to Research : R2R) อันจะ
                ส่งผลให้เกิดความก้าวหน้าในตนเองและองค์กร
                ขอบเขตการประเมิน :

                    -  ไตรมาสที่ 1 – 2 (ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565) : ไม่น้อยกว่า 10 ชั่วโมง
                    -  ไตรมาสที่ 3 (ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2565)     : ไม่น้อยกว่า 20 ชั่วโมง (สะสม)
                หมายเหตุ :
                        1) แบบฟอร์มที่ 1 : บุคลากรในหน่วยงานรายงานผลการพัฒนาศักยภาพบุคลากร รายบุคคล
                          จัดทำโดย : บุคลากรในหน่วยงาน (หากเรียนรู้จากการสอนงาน (Coaching) จากผู้อำนวยการ

                                     หรือหัวหน้าหน่วยงาน ให้ผู้สอนงานลงนามกำกับไว้ด้วย)
                        2) แบบฟอร์มที่ 2 : สรุปผลการประเมินการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของหน่วยงาน
                          จัดทำโดย : ผู้รับผิดชอบของหน่วยงาน และเสนอหัวหน้าหน่วยงานเซ็นกำกับ

                        3) ผู้รับรอง (แบบฟอร์มที่ 1) คือ ผู้อำนวยการของหน่วยงาน และหัวหน้ากลุ่มงาน/ฝ่าย



















                                                               -๖๗-
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76