Page 30 - คำรับรองการปฏิบัติราชการ สำนักงานเลขานุการกรม ปีงบประมาณ 2565
P. 30
คำรับรองการปฏิบัติราชการและคู่มือการประเมินผลการปฏิบัติราชการ ระดับกรมและระดับหน่วยงาน
ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
ตัวชี้วัดร่วม ตัวชี้วัดต่อเนื่อง ตัวชี้วัดใหม่ ตัวชี้วัดเดิม
ตัวชี้วัดที่ 2.3 : ระดับความสำเร็จการประเมินดัชนีมวลกาย (BMI) ของบุคลากรภายใน น้ำหนัก
หน่วยงาน ร้อยละ 10
หน่วยวัด : ระดับความสำเร็จ
ประเภท : Agenda based Functional based Area based Joint KPI
มิติ : ประสิทธิผลขององค์การ คุณภาพการให้บริการ ประสิทธิภาพ การพัฒนาองค์การ
ความสอดคล้องตามยุทธศาสตร์ :
เชื่อมโยงกับแผนปฏิบัติราชการของกรมฯ ยุทธศาสตร์ที่ 3 บุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
เชื่อมโยงกับตัวชี้วัดยุทธศาสตร์ อัตราการคงอยู่ของบุคลากรกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(Retention Rate)
เชื่อมโยงกับแผนงาน/โครงการ โครงการยกระดับระบบบริหารจัดการให้มีประสิทธิภาพต่อการบรรลุเป้าหมาย
ตามยุทธศาสตร์ชาติ
คำอธิบาย :
บุคลากรในหน่วยงาน หมายถึง ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้างเหมาบริการ ในหน่วยงานระดับ
กอง/สำนัก/สถาบัน สังกัดกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
การชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง หมายถึง ข้อมูลการชั่งน้ำหนักและวัดส่วนสูง จำนวน 1 รอบ ภายใน
วันที่ 12 เมษายน 2565 (รอบที่ 1/65) โดยหน่วยงานเป็นผู้ดำเนินการเก็บข้อมูลเอง
ค่าเฉลี่ยมวลกาย (BMI) หมายถึง ค่าน้ำหนักหน่วยเป็นกิโลกรัม หารด้วยส่วนสูงหน่วยเป็นเมตร
2
ยกกำลังสอง และแสดงในหน่วย กก./ม เป็นสากล
เกณฑ์ค่าเฉลี่ยมวลกาย (BMI) ตามมาตรฐานกรมอนามัย พ.ศ. 2553
เพศชาย – หญิง
ผอม ปกติ น้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 อ้วนระดับ 2
น้อยกว่า 18.5 18.5 – 22.9 23.0 – 24.9 25.0 – 29.9 มากกว่าหรือเท่ากับ 30
น้ำหนักดีขึ้นเมื่อเทียบกับ รอบที่ 2/64 หมายถึง บุคลากรที่มีดัชนีมวลกาย (BMI) ในรอบที่ 1/65
ลดลงหรือเพิ่มขึ้น เมื่อเทียบกับรอบที่ 2/64 ตามตารางด้านล่างนี้
สภาวะร่างกาย ค่า BMI รอบที่ 2/64 เกณฑ์การประเมิน
ผอม เพิ่มขึ้น
น้ำหนักเกิน
อ้วนระดับ 1 ลดลง ดีขึ้น
อ้วนระดับ 2
ห น้ า | 28
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข